The last time I sent a document to print, I needed 100 copies, double sided, black and white. Today, I hit ctrl + P to print a document without thinking about the last print settings and ended up running to the machine to repeatedly pound on the “cancel” button.
It made me think about how we tend to default to our presets to determine meaning in the present. But past settings aren’t always relevant to the present. There’s a huge opportunity for us to make mistakes when we decide on the present without really seeing the present situation.
So how can we see the present without automatically dragging the past into it? The first step isn’t to attempt to “live in the present, live in the now.” Rather, it’s to start to see the fault in our applying past experiences to just about everything. Once we’ve seen enough of our mistakes, we will naturally find a way to obtain a new kind of outcome. And that’s when we will start to live in the present. It will be a natural result, not something you consciously practice.
ครั้งล่าสุดที่ส่งเอกสารไปที่เครื่องพิมพ์ ต้องการ 100 แผ่นหน้าหลัง ขาวดำ พอวันนี้ต้องการที่จะพิมพ์เอกสารก็กด ctrl p โดยที่ไม่ได้คิดถึงครั้งล่าสุดที่สั่งพิมพ์ ผลก็คือต้องวิ่งไปที่เครื่องพิมพ์ และก็กดปุ่ม cancel หลายทีทีเดียว
คนเรามักจะใช้ข้อมูลเก่าเพื่อที่จะ หาความหมายในปัจจุบัน ปัญหาก็คืออดีตกับปัจจุบันไม่ได้โยงกันเสมอไป มีโอกาสพลาดได้เมื่อเราตัดสินในปัจจุบันโดยที่ไม่ได้มองปัจจุบันจริงๆ
แล้วเราจะมองปัจจุบันโดยที่ไม่ได้ลากอดีตเข้ามายุ่งเกี่ยวได้อย่างไร จุดเริ่มต้นไม่ใช่บอกตัวเองว่า “ให้อยู่กับปัจจุบัน ให้อยู่กับปัจจุบัน” แต่เป็นการเริ่มเห็นความผิดพลาดและทุกข์โทษภัยที่เกิดเพราะเราเอาอดีดมาตัดสินปัจจุบัน พอเราเห็นความผิดพลาดของเรามากพอ เราก็จะเข็ด และหาทางเปลี่ยนเอง ตอนนั้นแหละที่เราจะเริ่มอยู่กับปัจจุบันมากขึ้น จะเป็นผลตามธรรมชาติ ไม่ใช่ผลจากการท่อง “ปัจจุบัน”
Thank you for this Neecha. I must agree with you and say I have experienced what you’re talking about.